วันอาทิตย์ที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2557

สารบัญ
บทนำ                      การวิจกษ์วรรณคดี
หน่วยการเรียนรู้ที่  1   คำนมัสการคุณานุคุณ
หน่วยการเรียนรู้ที่  2   อิเหนา ตอน ศึกกะหมังกุหนิง
หน่วยการเรียนรู้ที่  3   นิทานเวตาล เรื่องที่ 10
หน่วยการเรียนรู้ที่  4   นิราศนรินทร์คำโคลง
หน่วยการเรียนรู้ที่  5   หัวใจชายหนุ่ม
หน่วยการเรียนรู้ที่  6   ทุกข์ของชาวนาในบทกวี
หน่วยการเรียนรู้ที่  7   มงคลสูตรคำฉันท์
หน่วยการเรียนรู้ที่  8   มหาชาติหรือมหาเวสสันดรชาดก
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8  มหาชาติหรือมหาเวสสันดรชาดก
มหาชาติเป็นชาติที่ยิ่งใหญ่ของพระโพธิสัตว์ที่ได้เสวยพระชาติเป็นพระเวสสันดรและเป็นพระชาติสุดท้ายก่อนจะตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า คนไทยรู้จักและคุ้ยเคยกับมหาชาติมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย ดังที่ปรากฏในหลักฐานในจารึกนครชุม  อ่านเพิ่มเติม



หน่วยการเรียนรู้ที่ 7  มงคลสูตรคำฉันท์
ความเป็นมา  เมื่อ พ.ศ. 2466 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ในรัชกาลที่6 ทรงนำมงคลสูตรมาทรงพระราชนิพนธ์เป็นบทร้อยกรองประเกทคำฉันท์ โดยใช้คำประพันธ์ 2 ชนิด คือกาพย์ฉบัง 16 และอินทรวิเชียรฉันท์ 11  อ่านเพิ่มเติม


หน่วยการเรียนรู้ที่ ทุกข์ของชาวนาในบทกวี
ความเป็นมา  บทความเรื่อง ทุกข์ของชาวนาในบทกวี มีที่มาจากหนังสือรวบรวมบทพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เรื่อง มณีพลอยร้อยแสง ซึ่งทรงพระกรุณาโปรดฯให้จัดพิมพ์ขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2533 ในวโรกาสที่พระองค์ทรงเจริญพระชนมายุครบ 3 รอบ  อ่านเพิ่มเติม

หน่วยการเรียนรู้ที่ 5  หัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่ม เป็นบทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยทรงใช้พระนามแฝงว่า “รามจิตติ” เพื่อพระราชทานลงพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ “ ดุสิตสมิตเมื่อ พ..๒๔๖๔  อ่านเพิ่มเติม


หน่วยการเรียนรู้ที่ 4  นิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์เป็นบทประพันธ์ประเภทนิราศคำโคลงที่โด่งดังที่สุดในยุครัตนโกสินทร์ ทัดเทียมได้กับ"กำสรวลศรีปราชญ์ "และ"ทวาทศมาส"ในสมัยกรุงศรีอยุธยา ผู้แต่งคือ นายนรินทร์ธิเบศร์(อิน) แต่งขึ้นเมื่อคราวตามเสด็จ กรมพระราชวังบวรมหาเสนานุรักษ์ไปทัพพม่าในสมัยรัชกาลที่สอง ไม่มีบันทึกถึงประวัติของผู้แต่งไว้  อ่านเพิ่มเติม


หน่วยการเรียนรู้ที่ 3  นิทานเวตาล  เรื่องที่ 10
ความเป็นมา  นิทานเวตาล ฉบับนิพนธ์ พระราชวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ มีที่มาจากวรรณกรรมสันสกฤตของอินเดีย  โดยมีชื่อเดิมว่า “เวตาลปัญจวิงศติ” ศิวทาสได้แต่งไว้ในสมัยโบราณ  อ่านเพิ่มเติม